ปรัชญาเรื่องของสิ่งที่เราเจอทุกวัน

ปรัชญา

ทุกคนเป็นผู้ที่มีความชำนาญที่สร้างความสบายให้กับตนเอง แล้วก็ให้บุคคลอื่นได้ด้วย หากเกิดทุกคนเป็นแบบนี้ได้ โลกก็จะเป็นสุขเยอะขึ้นนิอาจจะเป็นนิยามที่ใคร ๆ เองก็ต่างที่จะรู้ว่ามันเป็นสิ่งที่คนเราเองนั่นมักจะคิดมาโดยตลอดว่าเรื่องราวมันจะเป็นแบบไหนบ้าง แต่ในความเป็นจริงละนิยามนี้จะสามารถที่จะใช้ได้จริงหรือเปล่า เมื่อตอนนี้ผู้คนพากันทุกข์ยากลำบากกันไปทั่วทั้งโลก เป็นเพราะว่าใช้ไขปริศนาของชีวิตกันไม่ถูก แต่ก่อนนั้นมักจะมีคนเคยถามกันว่า เรื่องจริงเป็นยังไง ความดีงามเป็นอย่างไร มีผู้รู้ขึ้นมาตอบว่าความจริงนั้นเป็นอย่างไร คุณความดีนั้นเป็นยังไง ศาสนาต่าง ๆ เจ้าลัทธิต่าง ๆ เกิดขึ้นเพื่อจะตอบปัญหาพวกนี้ พร้อมกับมีนักนักปราชญ์คนหนึ่ง ก็คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นนักปราชญ์ที่มาตอบสติปัญญานี้แบบเป็นปรัชญาแห่งธรรมมะ ที่สามารถไขข้อข้องใจของคนเราได้อย่างชัดเจน โดยที่อ้างอิงเรื่องของความเป็นจริงในการใช้ชีวิตเป็นหลักทำให้ผู้คนที่ปัญหาที่ถามเสมอ ๆ ทำยังไงจะมั่งคั่ง ทำยังไงจะผลกำไรสูงสุด แล้วก็ใช้นี้เป็นเครื่องมือที่จะใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนาทั่วโลก แล้วโลกก็เป็นไปอย่างที่มองเห็น ความมักมากส่งผลให้เกิดความร้ายแรงความอยากได้เกี่ยวโยงกับเงินสด แล้วก็เงินสดเป็นมายาคติที่ไม่จริง นี่คือมูลเหตุที่ทำให้คนเรามักจะเกิดความทุกข์ได้แบบที่ไม่ต้องคิดเรื่องอะไรให้มันมากมายเลยก็ว่าได้ จริงแล้วหากผู้อ่านคิดตามผม คุณจะมองเห็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดเรื่องราวทั้งหมดของขีวิตคุณได้แบบที่ไม่ต้องคิดอะไรเลย เพราะทุกเรื่องราวนั่นเป็นสิ่งที่ร่างกาย สมอง และจิตใจเราเป็นผู้สร้างขึ้นทั้งนั่น เรื่องนี้ทางจิตวิทยาเข้าเรียกว่าต้นเหตุแห่งปัญหา และการเกิดปัญญากับการแก้ไขปัญหาใหม่ที่จะเกิดขึ้นบนโลกในนี้

สิ่งเหล่านี้ที่ผมกล่าวมาข้างต้นเป็นสิ่งที่เรามักจะมีในการชีวิตในแต่ละวันอยู่แล้วแบบที่ไม่ต้องคิดอะไรให้มันมากมายเลยก็ว่าได้ สังเกตสิว่ามันจะเกิดแล้วเกิดอีก หมุนเวียนอยู่ในทุกวันตามแต่กรรมที่ใครมีมากน้อยเพียงใดนั่นเอง ไม่รู้ผู้อ่ายจะมองว่าจริงหรือเปล่าแต่เรื่องราวเหล่านี้ผมว่าเราต้องเจอกับตัวเอง เหมือนที่เราตื่นมาก็ต้องอาบน้ำแปรงฟัน แล้วก็ไปทำงานนั่นเอง มันกับกลายเป็นองค์ประกอบของการช้ชีวิตของเราไปละ เรื่องแบบนี้มันพูดอยากจริง ๆ หากใครที่ยังไม่ค้นพบตัวคุณเองนั่นก็ต้องรอกันไปสักช่วงชีวิตนึง เดี่ยวคุณจะเจอเอง

4.0แล้วยังไงละสังคมไทย

ยุค 4.0

มีคนเคยสอบถามผมเรื่องของการใช้ชีวิตในยุค 4.0 คำนิยามนี้ผู้อ่านท่านใดเคยบ้างไหมว่าเข้าใจความหมายมันว่าอย่างไรกันบ้าง เข้าว่ากันสังคมยุคปัจจุบันนั่นจะอ้างอิงเรื่องราวทั้งหมดด้วยเทคโนโลยีที่ผูกติดกับเครื่องมือที่เราเองนั่นแหละเป็นผู้ยึดติดกับสิ่งเหล่านี้ เช่น สมาร์ทโฟนที่เราเองทุกคนใช้งานแบบติดตัวเทียบเท่ากับอวัยวะชิ้นที่ 33 นั่นเองไปไหนไปด้วย แทบจะกินนอนและตายไปพร้อมกับมันเลยนั่นเอง

            ซึ่งเรื่องนี้อย่ามองคนอื่นไกลกันเลยครับ เพราะทุกวันนี้ตัวผมเองนั่นแหละที่แทบจะกินนอนขับถ่ายก้ต้องมีสิ่งนี้ไปด้วยในทุกช่วงเวลา ไม่ว่าจะเจอกับเรื่องราวประเภทใดก็มักจะมีเจ้าสิ่งนี้ไปด้วยเสมอ จนทางบ้านผมเข้าสอบถามว่า ถ้าผมขาดเจ้าสิ่งนี้สัก 1 วันผมจะตายหรือเปล่า ผมเองคิดในใจออกมาทันทีเลยครับว่าตายจ้า เพราะด้วยทุกเรื่องราวไม่ว่าจะเรื่องงาน การเงิน หรือสังคมทั้งหมดของผมเองนั่นมันได้เข้าไปอยู่กับสิ่งนี้ทั้งหมดมาตั้งนานมากแล้วก็ว่าได้ เรื่องราวเหล่านี้เป็นเสมือนภาพที่เห็นกันทุกวันจนเป็นเรื่องปกติของโลกใบนี้กันเลยก็ว่าได้ ถ้าใครไม่ใช้งานมันสิคนนั่นสิแปลก นั่นคือคำถามคุณคิดว่าจริงหรือเปล่าครับ ผมรีบตอบให้เลยนะครับว่ามันคือความจริงนั่นเองครับ

            มีหลากหลายเจ้าสำนักพิมพ์ที่เข้าได้เขียนบทความให้คำนิยามเรื่อง 4.0 เอาไว้เยอะมากเลยก็ว่าได้ผมเองก็เข้าไปค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้ก่อนที่จะมาทำการเขียนรีวิวกับคำนิยามนี้ สิ่งที่มักจะได้เป็นคำตอบที่พูดกันคุ้นหูคุ้นตาเป็นอย่างมากมันก็คือการที่โลกเรามีการปรับเปลี่ยนตามเทคโนโลยีแบบที่ก้าวกระโดดกันเลย ผมจึงมองว่าถ้าเรามองแบบบวกก็ดีเพราะโลกเราจำเป็นอย่างมากที่จะต้องพัฒนาทุกเรื่องในชีวิตประจำวันให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น แต่หากคุณคิดกลับกันละในแง่ลบมันอาจจะมีมากกว่าบวกอีกคุณว่าป่ะ เพราะคนเรานั่นเองที่มักจะใช้อะไรแล้วเมื่อเหตุว่าดี จิตใต้สำนึกเหล่านั่นก็มักจะสั่งให้คนเราทำมากยิ่งขึ้น ใช้มากยิ่งขึ้นจนมีสิ่งหนึ่งที่ขาดหายไปจากสังคมไทยแล้ว ณ ตอนนี้นั่นก็คือเรื่องของ คำว่าครอบครัวนั่นเอง คำว่าเอาใจใส่กับพ่อแม่ในวันแก้ชรา ซึ่ง ณ ตอนนี้ในสังคมไทยเราขอบอกว่าขาดหายไปเลยแทบจะมีน้อยครอบครัวนะที่จะมีการดูแลพ่อแม่แบบจริงจัง แบบเอาใจใส่ แบบชีวิตของคนไทยในอดีต ซึ่งท้ายนี้ผมเองคิดว่าเราควรที่จะหันมามองกันได้แล้วอย่าปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยเสียเปล่านะครับ

การมองแบบปรัชญาตะวันออก

ปรัชญาตะวันออก

ปัจจุบันเคยมีใครบ้างที่เคยพูดถึงเรื่องของปรัชญาการใช้ชีวิตแบบชาวตะวันออกมาเป็นเครื่องมือในการดำเนินชีวิตแบบให้สอดคล้องกับชีวิตจริงที่ตนเองประสบอยู่แบบต่อเนื่องเลยนั่น ผมเองก็เคยเข้าไปอ่านหลายบทความที่มีนักวิชาการเข้าได้ทำการเขียนรีวิถึงหัวข้อนี้กันอย่างแพร่หลายในรูปแบบของการวิจัยในรูปแบบต่างมากมายเหลือกเกิน แต่ในบ้างเรื่องราวเหล่านั่นเองท่านเคยมั้ยที่จะลองนำมาปรับใช้งานกันแบบจริงจังบ้างครับ

            ในบทความบทนี้นั่นผมคงจะต้องขอยกตัวอย่างถึงเรื่องของนักปรัชญาท่านนึงที่เคยได้ให้นิยามของการใช้ชีวิตบนโลกที่น่ากลัวใบนี้ไว้นั่นก็คือ อริสโตเติลนั่นเอง พอพูดถึงชื่อนี้ผู้อ่านหลายท่านก็คงจะนึกภาพออกกันแล้วละสิครับว่าเข้าคือใคร ถ้าจะให้ผมกล่าวนำแบบเบื้องต้นเข้าก็เป็นนักปรัชญาชื่อดังก้องโลกเลยก็ว่าได้ ซึ่งตัวเข้าเองนั่เป็นที่รู้จักในช่วงยุสมัยเมื่อ 384 ปีที่แล้วก่อนคริสตกาล และก็มีชื่อเสียงในยุคกรีกโบราณพร้อมกับเป็นอาจารย์ให้กับอเล็กซานเดอร์ทั้งในเรื่องของปรัชญาก็ดี เรื่องของการวางแผนทางการปกครองก็ดี เรื่องของการสร้างจริยธรรมต่าง ๆ ในยุคนั่นก็ดีแทบจะต้องพูดได้เลยว่าเข้าเพียงเสมือนทุกอย่างของยุคนั่นก็เป็นได้

            แต่ก็ว่าไปนั่นเรื่องราวของเข้านั่นโดงดังมากตั้งแต่เข้าเริ่มที่จะมีปัญหากับตัวผู้ปกครองของกรีกโบราณ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเหล่าบรรดาผู้ที่ไม่สนับสนุนแนวความคิดของเข้าก็ดี หรือเหล่าผู้ที่ต้องเสียอำนาจการปกครองในท้องถิ่นก็ดี จนมีผละให้เข้าถึงแกชีวิตได้เลย แต่เรื่องของปรัชญาที่เข้าได้ให้คำสอนไว้นั่นมันจะบ่งชีถึงเรื่องการทำให้ชีวิตนั่นมีความสุขในการใช้ชีวิตประจำวันนั่นเอง พร้อมกับการจะทำอย่างไรให้ชีวิตเราเองนั่นมีความสำราญมากที่สุดโดยไม่มีเรื่องของความทุกข์เข้ามาเกี่ยวข้องแต่อย่างใดทั้งตนเองและก็มิตรสหายไปด้วย ตามที่ผมได้ค้นหาข้อมูลของแนวทางของเข้าแล้วนั่นมักจะพูดถึงเรื่องการทำอย่างไรให้ชีวิตไม่ยุ่งเกี่ยวกับปัญหาไม่ว่าจะเป็นสภาวะการใดก็ตามแต่ทั้งภายในตามหลักของการแสวงหาความสุขตามแบบฉบับของนักปรัชญาตะวันออก

            ท้ายนี้ผมก็คงจะพูดได้เพียงแต่ว่า ทุกเรื่องราวที่ได้กล่าวมาในเรื่องของการดำเนินชีวิตนั่น มักจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได้เสมอไว่ว่าจะเป็นระยะสั้นก็ดีหรือถ้ามองในแง่มุมระยาวก็อาจจะต้องปรับเรื่องของความเข้าใจเข้าไปด้วย ทำให้เรามีแง่มุมที่เปิดกว้างมากยิ่งขึ้นอย่างแน่นอนครับ หรือผู้อ่านท่านใดคิดว่าไม่จริงบ้าง